สมพงษ์ ศิริขจร
วันอาทิตย์ที่ 31 มีนาคม พ.ศ. 2562
ภาคนิพนธ์ภาษาไทย 5 เรื่อง
เรื่อง ภาคนิพนธ์ภาษาไทยครับ
เรื่องที่1
บทคัดย่องานวิจัยด้านโลจิสติกส์สุขภาพที่ผ่านมาส่วนมากให้ความสําคัญกับกระบวนการโลจิสติกส์
ภายในสถานพยาบาล ในขณะที่แผนงานวิจัยนี้ต้องการศึกษาวิเคราะห์กระบวนการโลจิสติกส์ของ
บริการสุขภาพนอกโรงพยาบาล ซึ่งผู้วิจัยเห็นว่ามีประโยชน์อย่างยิ่งต่อการพัฒนาบริการสุขภาพของ
สังคมไทยให้มีความทั่วถึงและเป็นธรรมมากกว่าที่เป็นอยู่ในขณะนี้ แผนงานวิจัยนี้ประกอบด้วย 3
โครงการวิจัยย่อย ได้แก่ 1) การศึกษาเข้าถึงบริการสุขภาพทางด้านภูมิศาสตร์ (กายภาพ) ของผู้ป่วย
โรคเบาหวาน 2) ความต้องการด้านการขนส่งของผู้สูงอายุในสังคมไทย และ 3) การศึกษาวิเคราะห์
ความต้องการและรูปแบบการให้บริการสุขภาพเคลื่อนที่ โครงการวิจัยย่อยที่หนึ่งใช้จังหวัดเชียงใหม่เป็น
พื้นที่กรณีศึกษาสร้างแบบจําลองคณิตศาสตร์เพื่ออธิบายระดับความสามารถในการเข้าถึงบริการสุขภาพ
ในขณะที่โครงการวิจัยย่อยที่สองสํารวจรวบรวมข้อมูลพฤติกรรมและความต้องการเดินทางของกลุ่ม
ผู้
สู
งอายุทั้งพื้นที่กรุงเทพมหานครและต่างจังหวัด ซึ่งทําให้ทราบว่าปริมาณการเดินทางของผู้สูงอายุไทย
มีค่อนข้างน้อย แต่ค่อนข้างสม่ําเสมอ โดยเฉพาะอย่างยิ่งการเดินทางไปพบแพทย์ ปัญหาและอุปสรรค
ของการเดินทางคือต้องอาศัยเพื่อนร่วมทาง ความจําเป็นในการพึ่งพาคนอื่นเพิ่มสูงขึ้นตามวัยที่มากขึ้น
ทําให้ต้นทุนการเดินทางของผู้สูงอายุแพงกว่าคนหนุ่มสาวปกติมากกว่าสองเท่าตัว ผู้สูงอายุมีความ
ต้องการระบบคมนาคมขนส่งที่เป็นมิตร เข้าถึงได้สะดวกและใช้ง่าย สําหรับโครงการวิจัยย่อยที่สามนั้น
เป็นการศึกษาบริการสุขภาพของหน่วยแพทย์เคลื่อนที่ซึ่งมีอยู่ไม่น้อยในประเทศไทย เป็นบริการที่
น่าสนใจมาก เพราะว่าเป็นการนําบริการสุขภาพออกไปส่งมอบ (Delivery) ให้กับคนไข้นอกสถานที่ ซึ่ง
ผลการวิเคราะห์ตารางการลงพื้นที่ออกหน่วยของหน่วยแพทย์เคลื่อนที่ทั้งหลายพบว่ามีความซ้ําซ้อนกัน
มากในหลายพื้นที่ ในขณะที่บางพื้นที่กลับไม่ได้รับบริการ ซึ่งถ้าหากมีการประสานงานและแลกเปลี่ยน
ข้อมูลตารางการออกหน่วยระหว่างกัน ย่อมสามารถลดความสิ้นเปลืองจากการทํางานซ้ําซ้อนในพื้นที่
เดียวกัน และเปลี่ยนไปให้บริการกับพื้นที่อื่นเป็นการเพิ่มความทั่วถึงของบริการสุขภาพได้โดยไม่มีต้นทุน
เพิ่มขึ้นแต่อย่างใด เมื่อบูรณาการผลการวิจัยจากทั้งสามโครงการย่อยเข้าด้วยกัน สามารถสังเคราะห์ผล
ออกมาเป็นกรอบแนวคิดสําหรับปรับปรุงการขนส่งและส่งมอบบริการสุขภาพให้เกิดความทั่วถึงไปทุก
พื้นที่ ทุกกลุ่มเป้าหมาย ทุกช่วงเวลา อย่างมีคุณภาพและเป็นธรรมต่อทุกคน ทั้งนี้หากมีผู้รับบริการกลุ่ม
ใด ที่ครอบคลุมไม่ถึงด้วยระบบการให้บริการมาตรฐาน ก็จําเป็นต้องออกแบบระบบเฉพาะขึ้นมาเพื่อ
รองรับคนกลุ่มดังกล่าว
ภายในสถานพยาบาล ในขณะที่แผนงานวิจัยนี้ต้องการศึกษาวิเคราะห์กระบวนการโลจิสติกส์ของ
บริการสุขภาพนอกโรงพยาบาล ซึ่งผู้วิจัยเห็นว่ามีประโยชน์อย่างยิ่งต่อการพัฒนาบริการสุขภาพของ
สังคมไทยให้มีความทั่วถึงและเป็นธรรมมากกว่าที่เป็นอยู่ในขณะนี้ แผนงานวิจัยนี้ประกอบด้วย 3
โครงการวิจัยย่อย ได้แก่ 1) การศึกษาเข้าถึงบริการสุขภาพทางด้านภูมิศาสตร์ (กายภาพ) ของผู้ป่วย
โรคเบาหวาน 2) ความต้องการด้านการขนส่งของผู้สูงอายุในสังคมไทย และ 3) การศึกษาวิเคราะห์
ความต้องการและรูปแบบการให้บริการสุขภาพเคลื่อนที่ โครงการวิจัยย่อยที่หนึ่งใช้จังหวัดเชียงใหม่เป็น
พื้นที่กรณีศึกษาสร้างแบบจําลองคณิตศาสตร์เพื่ออธิบายระดับความสามารถในการเข้าถึงบริการสุขภาพ
ในขณะที่โครงการวิจัยย่อยที่สองสํารวจรวบรวมข้อมูลพฤติกรรมและความต้องการเดินทางของกลุ่ม
ผู้
สู
งอายุทั้งพื้นที่กรุงเทพมหานครและต่างจังหวัด ซึ่งทําให้ทราบว่าปริมาณการเดินทางของผู้สูงอายุไทย
มีค่อนข้างน้อย แต่ค่อนข้างสม่ําเสมอ โดยเฉพาะอย่างยิ่งการเดินทางไปพบแพทย์ ปัญหาและอุปสรรค
ของการเดินทางคือต้องอาศัยเพื่อนร่วมทาง ความจําเป็นในการพึ่งพาคนอื่นเพิ่มสูงขึ้นตามวัยที่มากขึ้น
ทําให้ต้นทุนการเดินทางของผู้สูงอายุแพงกว่าคนหนุ่มสาวปกติมากกว่าสองเท่าตัว ผู้สูงอายุมีความ
ต้องการระบบคมนาคมขนส่งที่เป็นมิตร เข้าถึงได้สะดวกและใช้ง่าย สําหรับโครงการวิจัยย่อยที่สามนั้น
เป็นการศึกษาบริการสุขภาพของหน่วยแพทย์เคลื่อนที่ซึ่งมีอยู่ไม่น้อยในประเทศไทย เป็นบริการที่
น่าสนใจมาก เพราะว่าเป็นการนําบริการสุขภาพออกไปส่งมอบ (Delivery) ให้กับคนไข้นอกสถานที่ ซึ่ง
ผลการวิเคราะห์ตารางการลงพื้นที่ออกหน่วยของหน่วยแพทย์เคลื่อนที่ทั้งหลายพบว่ามีความซ้ําซ้อนกัน
มากในหลายพื้นที่ ในขณะที่บางพื้นที่กลับไม่ได้รับบริการ ซึ่งถ้าหากมีการประสานงานและแลกเปลี่ยน
ข้อมูลตารางการออกหน่วยระหว่างกัน ย่อมสามารถลดความสิ้นเปลืองจากการทํางานซ้ําซ้อนในพื้นที่
เดียวกัน และเปลี่ยนไปให้บริการกับพื้นที่อื่นเป็นการเพิ่มความทั่วถึงของบริการสุขภาพได้โดยไม่มีต้นทุน
เพิ่มขึ้นแต่อย่างใด เมื่อบูรณาการผลการวิจัยจากทั้งสามโครงการย่อยเข้าด้วยกัน สามารถสังเคราะห์ผล
ออกมาเป็นกรอบแนวคิดสําหรับปรับปรุงการขนส่งและส่งมอบบริการสุขภาพให้เกิดความทั่วถึงไปทุก
พื้นที่ ทุกกลุ่มเป้าหมาย ทุกช่วงเวลา อย่างมีคุณภาพและเป็นธรรมต่อทุกคน ทั้งนี้หากมีผู้รับบริการกลุ่ม
ใด ที่ครอบคลุมไม่ถึงด้วยระบบการให้บริการมาตรฐาน ก็จําเป็นต้องออกแบบระบบเฉพาะขึ้นมาเพื่อ
รองรับคนกลุ่มดังกล่าว
เรื่องที่2
บทคัดยอ
แผนงานวิจัยและพัฒนายางลอรถประหยัดพลังงานนี้เปนการศึกษาเพื่อพัฒนาตนแบบยางลอรถประหยัดพลังงาน 2 ประเภทไดแกยางลอรถบรรทุกเล็กเรเดียลและยางลอตันสําหรับรถฟอรคลิฟท โดยมีโรงงานผลิตยางลอรถทั้ง 2 ประเภทเขารวมในโปรแกรมวิจัยดวยคือ หจก.ป.สยามอุตสาหกรรมยางสําหรับการพัฒนายางลอรถบรรทุกเล็กเรเดียลและบริษัทวี.เอส.อุตสาหกรรมยางจํากัดสําหรับการพัฒนายางลอตัน แผนงานวิจัยมีระยะเวลาโครงการ 2 ปโดยรายงานนี้เปนรายงานของปที่ 2แผนงานในปที่ 2 ประกอบดวยโครงการยอย 3 โครงการไดแก โครงการออกแบบยางลอรถเชิงวิศวกรรมสําหรับยางลอรถประหยัดพลังงาน โครงการพัฒนายางคอมพาวดสําหรับยางลอรถประหยัดพลังงาน และโครงการผลิตและทดสอบยางลอรถประหยัดพลังงานตนแบบ โดยจะเปนการนําผลการศึกษาการออกแบบดอกยางลอประหยัดพลังงานของโครงการยอยที่ 1 และการพัฒนาสูตรยางคอมพาวดประหยัดพลังงานของโครงการยอยที่ 2 มาบูรณาการสรางยางลอประหยัดพลังงานตนแบบสําหรับรถบรรทุกเล็กเรเดียลและยางลอตันรถฟอรคลิฟทรวมกับผูประกอบการผลิตยางลอที่รวมในโครงการ แลวนําไปทดสอบความสามารถในการประหยัดพลังงานในระดับหองปฏิบัติการ (วัดจากคาสัมประสิทธิ์ความตานทานการหมุนของยางลอ) และในการใชงานจริงโดยทดลองวิ่งบนถนนสําหรับยางลอรถบรรทุกเล็กเรเดียล คณะวิจัยประสบความสําเร็จในการออกแบบดอกยางและยางคอมพาวดดอกยางที่มีคาการสูญเสียพลังงานต่ํากวาของยางลอเปรียบเทียบของบริษัทชั้นนํา กลาวคือยางลอตัวอยางที่ผลิตมีคาสัมประสิทธิ์ความตานทานการหมุน 11.82 kg/ton เทียบกับของบริษัทขามชาติชั้นนํา 12.14 kg/ton และบริษัทไทยชั้นนํา 12.20 kg/ton แตยางลอตัวอยางดังกลาวยังไมสามารถนําไปทดสอบความทนทานและการวิ่งใชงานจริงไดเนื่องจากยังมี balance ไมดีพอและยางลอเสียรูปเมื่อนําไปทดสอบความทน คาดวาเนื่องมาจากโครงสรางของยางลอตัวอยางยังไมแข็งแรงพอ ฉะนั้นคณะวิจัยจึงจําเปนตองรอใหผูประกอบการที่รวมโครงการทําการปรับปรุงเครื่องจักรผลิตยางลอเรเดียลกอนจึงจะสามารถไดยางลอตัวอยางที่สามารถนํามาทดสอบความสามารถในการประหยัดพลังงานโดยการทดลองวิ่งบนถนนจริงได ซึ่งในชวงของการรายงานผลของแผนงานวิจัยนี้ ผูประกอบการยังไมสามารถจัดหาเครื่องผลิตยางลอเรเดียลใหมไดทันเวลาสําหรับยางลอตันรถฟอรคลิฟท คณะวิจัยประสบความสําเร็จในการผลิตยางลอตันประหยัดพลังงานตนแบบ โดยยางลอตนแบบที่พัฒนาขึ้นมีคาสัมประสิทธิ์ความตานทานการหมุนของยางลอ ต่ํากวาของยางลอตันของบริษัทชั้นนําของโลกและของไทยที่นํามาเปรียบเทียบ 14 % และ 31 % ตามลําดับ และต่ํากวาของยางลอตันเดิมของบริษัท 38 % และเมื่อนํายางลอตันประหยัดพลังงานตนแบบไปทดลองใชงานจริงในโรงงานผลิตน้ําผลไม พบวายางลอตันตนแบบมีอายุการใชงานสูงกวายางลอตันเดิมของบริษัทกลาวคือสูงกวา70 % สําหรับยางลอหนาและ 55 % สําหรับยางลอหลัง สวนการประหยัดพลังงาน ยางลอตันใหมชวยใหประหยัดพลังงานดีขึ้นกวายางลอตันเดิมของบริษัท 23 % หากคิดเปนผลกระทบทางเศรษฐกิจจากการที่ยางลอตันใหมมีอายุการใชงานยาวขึ้นและประหยัดเชื้อเพลิงมากขึ้น ยางลอตันประหยัดพลังงานที่พัฒนาขึ้นสามารถชวยใหประหยัดคาใชจายสําหรับรถฟอรคลิฟทไดประมาณ 60,000 บาท/คัน/ป
เรื่องที่ 3
บทคัดย่อ (ภาษาไทย)โรคมะเร็งระบบทางเดินอาหารเป็นโรคที่พบได้บ่อยทั้งในเพศชาย และเพศหญิง และมีแนวโน้มที่จะเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ
ดังนั้นการตรวจคัดกรองโรคมะเร็งในระบบทางเดินอาหารอย่างสมํ่าเสมอ ทําให้สามารถตรวจพบมะเร็งในระยะแรก ซึ่งจะ
สามารถลดอัตราการเสียชีวิตลงได้อย่างชัดเจน การตรวจวินิจฉัยในปจจุบันสามารถทําได้อย่างรวดเร็วและแม่นยํายิ่งขึ้น ั
เพราะได้มีการนํากล้องส่องตรวจระบบทางเดินอาหารมาใช้อย่างแพร่หลาย ข้อเสียของการตรวจวินิจฉัยโดยใช้กล้องส่องคือ
แพทย์ผู้ตรวจต้องมีความชํานาญในการใช้กล้องเป็นอย่างดี และต้องผ่านการฝึกฝนมาเป็นอย่างมาก ซึ่งการฝึกฝนใน
ปจจุบันนั้น ั ยังทําได้ยากลําบาก เพราะแพทย์ฝึกหัดต้องทําการฝึกกับคนไข้จริงเท่านั้น เครื่องจําลองระบบทางเดินอาหาร
เพื่อใช้ในการฝึกฝนก่อนเริ่มฝึกกับคนไข้จริงจึงเป็นสิ่งจําเป็น และจะเป็นประโยชน์อย่างมากต่อการฝึกแพทย์ส่องกล้องใน
ประเทศไทย ดังนั้นวัตถุประสงค์ของโครงการวิจัยนี้ คือ เพื่อสร้างหุ่นจําลองระบบทางเดินอาหารส่วนบนจากยางพาราเพื่อ
ใช้ในการฝึกส่องกล้องสําหรับแพทย์ฝึกหัด โดยระบบทางเดินอาหารส่วนบนจะทําขึ้นจากยางพารา โดยใช้สูตรยางที่ทดสอบ
แล้วว่ามีความใกล้เคียงกับอวัยวะจริง โดยอ้างอิงจากผลการทดลองการทดสอบแรงดึง (Tensile Test) เปรียบเทียบสูตรยาง
ที่พัฒนาขึ้นมากับกระเพาะหมู นอกจากนั้นหุ่นจําลองยังมีการรวมแผงวงจรและเซ็นเซอร์สําหรับตอบสนองต่อแรงดันที่ผนัง
ทางเดินอาหารโดยกล้องส่องที่แรงเกินสมควร ซึ่งเป็นหนึ่งในข้อผิดพลาดที่เกิดขึ้นได้ง่าย และเกิดขึ้นได้บ่อยที่สุดกับแพทย์
ฝึกหัดส่องกล้องในระยะแรก ซึ่งจะช่วยให้แพทย์ฝึกหัดสามารถฝึกหัดกับหุ่นจําลองที่พัฒนาขึ้นได้ด้วยตนเอง
หลังจากสร้างหุ่นจําลองระบบทางเดินอาหารจากยางพาราสําเร็จตามวัตถุประสงค์และสามารถพัฒนาให้มีต้นทุนไม่
สูงเมื่อเทียบกับระบบจําลองที่มีอยู่ในท้องตลาด จึงได้มีการนําระบบจําลองไปให้กลุ่มแพทย์ผู้เชี่ยวชาญและแพทย์ฝึกหัด ทํา
การทดสอบการใช้งานเพื่อช่วยในการประเมินผล ซึ่งผลตอบรับที่ได้อยู่ในเกณฑ์พอใช้ อย่างไรก็ตาม ผิวสัมผัสยังคงมีความ
แข็งเกินไป และไม่ยืดหยุ่นพอ จึงทําให้การใช้งานยากกว่าคนไข้จริง ส่งผลให้มีเพียงแพทย์ผู้เชี่ยวชาญเท่านั้นที่สามารถส่อง
กล้องเข้าไปจนถึงลําไส้เล็กส่วนต้นได้ โดยแพทย์ฝึกหัดยังไม่สามารถบังคับกล้องให้เข้าถึงได้ ดังนั้นหุ่นจําลองระบบทางเดิน
อาหารจากยางพาราที่พัฒนาขึ้น สามารถใช้ทดสอบความเชี่ยวชาญของแพทย์ได้ แต่ยังต้องมีการปรับปรุงผิวสัมผัสเพิ่มเติม
หากต้องการนํามาใช้สําหรับฝึกแพทย์ฝึกหัดในเบื้องต้น สําหรับแผนการในอนาคต ขณะนี้ได้พัฒนาเพิ่มเติมตามคําแนะนําที่
ได้ โดยจะปรับปรุงวิธีการขึ้นรูปและวิธีการยืดติดกับตัวหุ่นจําลอง ซึ่งคาดว่าจะสามารถพัฒนาให้ระบบทางเดินอาหาร
ส่วนบนมีความใกล้เคียงกับมนุษย์มากขึ้น และสามารถนํามาใช้ในการฝึกแพทย์ฝึกหัดได้อย่างเหมาะสมมากขึ้น
คําสําคัญ: หุ่นจําลองทางเดินอาหารส่วนบน, ฝึกหัดส่องกล้องทางเดินอาหาร, หุ่นจําลองทางการแพทย
ดังนั้นการตรวจคัดกรองโรคมะเร็งในระบบทางเดินอาหารอย่างสมํ่าเสมอ ทําให้สามารถตรวจพบมะเร็งในระยะแรก ซึ่งจะ
สามารถลดอัตราการเสียชีวิตลงได้อย่างชัดเจน การตรวจวินิจฉัยในปจจุบันสามารถทําได้อย่างรวดเร็วและแม่นยํายิ่งขึ้น ั
เพราะได้มีการนํากล้องส่องตรวจระบบทางเดินอาหารมาใช้อย่างแพร่หลาย ข้อเสียของการตรวจวินิจฉัยโดยใช้กล้องส่องคือ
แพทย์ผู้ตรวจต้องมีความชํานาญในการใช้กล้องเป็นอย่างดี และต้องผ่านการฝึกฝนมาเป็นอย่างมาก ซึ่งการฝึกฝนใน
ปจจุบันนั้น ั ยังทําได้ยากลําบาก เพราะแพทย์ฝึกหัดต้องทําการฝึกกับคนไข้จริงเท่านั้น เครื่องจําลองระบบทางเดินอาหาร
เพื่อใช้ในการฝึกฝนก่อนเริ่มฝึกกับคนไข้จริงจึงเป็นสิ่งจําเป็น และจะเป็นประโยชน์อย่างมากต่อการฝึกแพทย์ส่องกล้องใน
ประเทศไทย ดังนั้นวัตถุประสงค์ของโครงการวิจัยนี้ คือ เพื่อสร้างหุ่นจําลองระบบทางเดินอาหารส่วนบนจากยางพาราเพื่อ
ใช้ในการฝึกส่องกล้องสําหรับแพทย์ฝึกหัด โดยระบบทางเดินอาหารส่วนบนจะทําขึ้นจากยางพารา โดยใช้สูตรยางที่ทดสอบ
แล้วว่ามีความใกล้เคียงกับอวัยวะจริง โดยอ้างอิงจากผลการทดลองการทดสอบแรงดึง (Tensile Test) เปรียบเทียบสูตรยาง
ที่พัฒนาขึ้นมากับกระเพาะหมู นอกจากนั้นหุ่นจําลองยังมีการรวมแผงวงจรและเซ็นเซอร์สําหรับตอบสนองต่อแรงดันที่ผนัง
ทางเดินอาหารโดยกล้องส่องที่แรงเกินสมควร ซึ่งเป็นหนึ่งในข้อผิดพลาดที่เกิดขึ้นได้ง่าย และเกิดขึ้นได้บ่อยที่สุดกับแพทย์
ฝึกหัดส่องกล้องในระยะแรก ซึ่งจะช่วยให้แพทย์ฝึกหัดสามารถฝึกหัดกับหุ่นจําลองที่พัฒนาขึ้นได้ด้วยตนเอง
หลังจากสร้างหุ่นจําลองระบบทางเดินอาหารจากยางพาราสําเร็จตามวัตถุประสงค์และสามารถพัฒนาให้มีต้นทุนไม่
สูงเมื่อเทียบกับระบบจําลองที่มีอยู่ในท้องตลาด จึงได้มีการนําระบบจําลองไปให้กลุ่มแพทย์ผู้เชี่ยวชาญและแพทย์ฝึกหัด ทํา
การทดสอบการใช้งานเพื่อช่วยในการประเมินผล ซึ่งผลตอบรับที่ได้อยู่ในเกณฑ์พอใช้ อย่างไรก็ตาม ผิวสัมผัสยังคงมีความ
แข็งเกินไป และไม่ยืดหยุ่นพอ จึงทําให้การใช้งานยากกว่าคนไข้จริง ส่งผลให้มีเพียงแพทย์ผู้เชี่ยวชาญเท่านั้นที่สามารถส่อง
กล้องเข้าไปจนถึงลําไส้เล็กส่วนต้นได้ โดยแพทย์ฝึกหัดยังไม่สามารถบังคับกล้องให้เข้าถึงได้ ดังนั้นหุ่นจําลองระบบทางเดิน
อาหารจากยางพาราที่พัฒนาขึ้น สามารถใช้ทดสอบความเชี่ยวชาญของแพทย์ได้ แต่ยังต้องมีการปรับปรุงผิวสัมผัสเพิ่มเติม
หากต้องการนํามาใช้สําหรับฝึกแพทย์ฝึกหัดในเบื้องต้น สําหรับแผนการในอนาคต ขณะนี้ได้พัฒนาเพิ่มเติมตามคําแนะนําที่
ได้ โดยจะปรับปรุงวิธีการขึ้นรูปและวิธีการยืดติดกับตัวหุ่นจําลอง ซึ่งคาดว่าจะสามารถพัฒนาให้ระบบทางเดินอาหาร
ส่วนบนมีความใกล้เคียงกับมนุษย์มากขึ้น และสามารถนํามาใช้ในการฝึกแพทย์ฝึกหัดได้อย่างเหมาะสมมากขึ้น
คําสําคัญ: หุ่นจําลองทางเดินอาหารส่วนบน, ฝึกหัดส่องกล้องทางเดินอาหาร, หุ่นจําลองทางการแพทย
เรื่องที่4
บทคัดย่อ (ภาษาไทย)โรคมะเร็งระบบทางเดินอาหารเป็นโรคที่พบได้บ่อยทั้งในเพศชาย และเพศหญิง และมีแนวโน้มที่จะเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ
ดังนั้นการตรวจคัดกรองโรคมะเร็งในระบบทางเดินอาหารอย่างสมํ่าเสมอ ทําให้สามารถตรวจพบมะเร็งในระยะแรก ซึ่งจะ
สามารถลดอัตราการเสียชีวิตลงได้อย่างชัดเจน การตรวจวินิจฉัยในปจจุบันสามารถทําได้อย่างรวดเร็วและแม่นยํายิ่งขึ้น ั
เพราะได้มีการนํากล้องส่องตรวจระบบทางเดินอาหารมาใช้อย่างแพร่หลาย ข้อเสียของการตรวจวินิจฉัยโดยใช้กล้องส่องคือ
แพทย์ผู้ตรวจต้องมีความชํานาญในการใช้กล้องเป็นอย่างดี และต้องผ่านการฝึกฝนมาเป็นอย่างมาก ซึ่งการฝึกฝนใน
ปจจุบันนั้น ั ยังทําได้ยากลําบาก เพราะแพทย์ฝึกหัดต้องทําการฝึกกับคนไข้จริงเท่านั้น เครื่องจําลองระบบทางเดินอาหาร
เพื่อใช้ในการฝึกฝนก่อนเริ่มฝึกกับคนไข้จริงจึงเป็นสิ่งจําเป็น และจะเป็นประโยชน์อย่างมากต่อการฝึกแพทย์ส่องกล้องใน
ประเทศไทย ดังนั้นวัตถุประสงค์ของโครงการวิจัยนี้ คือ เพื่อสร้างหุ่นจําลองระบบทางเดินอาหารส่วนบนจากยางพาราเพื่อ
ใช้ในการฝึกส่องกล้องสําหรับแพทย์ฝึกหัด โดยระบบทางเดินอาหารส่วนบนจะทําขึ้นจากยางพารา โดยใช้สูตรยางที่ทดสอบ
แล้วว่ามีความใกล้เคียงกับอวัยวะจริง โดยอ้างอิงจากผลการทดลองการทดสอบแรงดึง (Tensile Test) เปรียบเทียบสูตรยาง
ที่พัฒนาขึ้นมากับกระเพาะหมู นอกจากนั้นหุ่นจําลองยังมีการรวมแผงวงจรและเซ็นเซอร์สําหรับตอบสนองต่อแรงดันที่ผนัง
ทางเดินอาหารโดยกล้องส่องที่แรงเกินสมควร ซึ่งเป็นหนึ่งในข้อผิดพลาดที่เกิดขึ้นได้ง่าย และเกิดขึ้นได้บ่อยที่สุดกับแพทย์
ฝึกหัดส่องกล้องในระยะแรก ซึ่งจะช่วยให้แพทย์ฝึกหัดสามารถฝึกหัดกับหุ่นจําลองที่พัฒนาขึ้นได้ด้วยตนเอง
หลังจากสร้างหุ่นจําลองระบบทางเดินอาหารจากยางพาราสําเร็จตามวัตถุประสงค์และสามารถพัฒนาให้มีต้นทุนไม่
สูงเมื่อเทียบกับระบบจําลองที่มีอยู่ในท้องตลาด จึงได้มีการนําระบบจําลองไปให้กลุ่มแพทย์ผู้เชี่ยวชาญและแพทย์ฝึกหัด ทํา
การทดสอบการใช้งานเพื่อช่วยในการประเมินผล ซึ่งผลตอบรับที่ได้อยู่ในเกณฑ์พอใช้ อย่างไรก็ตาม ผิวสัมผัสยังคงมีความ
แข็งเกินไป และไม่ยืดหยุ่นพอ จึงทําให้การใช้งานยากกว่าคนไข้จริง ส่งผลให้มีเพียงแพทย์ผู้เชี่ยวชาญเท่านั้นที่สามารถส่อง
กล้องเข้าไปจนถึงลําไส้เล็กส่วนต้นได้ โดยแพทย์ฝึกหัดยังไม่สามารถบังคับกล้องให้เข้าถึงได้ ดังนั้นหุ่นจําลองระบบทางเดิน
อาหารจากยางพาราที่พัฒนาขึ้น สามารถใช้ทดสอบความเชี่ยวชาญของแพทย์ได้ แต่ยังต้องมีการปรับปรุงผิวสัมผัสเพิ่มเติม
หากต้องการนํามาใช้สําหรับฝึกแพทย์ฝึกหัดในเบื้องต้น สําหรับแผนการในอนาคต ขณะนี้ได้พัฒนาเพิ่มเติมตามคําแนะนําที่
ได้ โดยจะปรับปรุงวิธีการขึ้นรูปและวิธีการยืดติดกับตัวหุ่นจําลอง ซึ่งคาดว่าจะสามารถพัฒนาให้ระบบทางเดินอาหาร
ส่วนบนมีความใกล้เคียงกับมนุษย์มากขึ้น และสามารถนํามาใช้ในการฝึกแพทย์ฝึกหัดได้อย่างเหมาะสมมากขึ้น
คําสําคัญ: หุ่นจําลองทางเดินอาหารส่วนบน, ฝึกหัดส่องกล้องทางเดินอาหาร, หุ่นจําลองทางการแพท
ดังนั้นการตรวจคัดกรองโรคมะเร็งในระบบทางเดินอาหารอย่างสมํ่าเสมอ ทําให้สามารถตรวจพบมะเร็งในระยะแรก ซึ่งจะ
สามารถลดอัตราการเสียชีวิตลงได้อย่างชัดเจน การตรวจวินิจฉัยในปจจุบันสามารถทําได้อย่างรวดเร็วและแม่นยํายิ่งขึ้น ั
เพราะได้มีการนํากล้องส่องตรวจระบบทางเดินอาหารมาใช้อย่างแพร่หลาย ข้อเสียของการตรวจวินิจฉัยโดยใช้กล้องส่องคือ
แพทย์ผู้ตรวจต้องมีความชํานาญในการใช้กล้องเป็นอย่างดี และต้องผ่านการฝึกฝนมาเป็นอย่างมาก ซึ่งการฝึกฝนใน
ปจจุบันนั้น ั ยังทําได้ยากลําบาก เพราะแพทย์ฝึกหัดต้องทําการฝึกกับคนไข้จริงเท่านั้น เครื่องจําลองระบบทางเดินอาหาร
เพื่อใช้ในการฝึกฝนก่อนเริ่มฝึกกับคนไข้จริงจึงเป็นสิ่งจําเป็น และจะเป็นประโยชน์อย่างมากต่อการฝึกแพทย์ส่องกล้องใน
ประเทศไทย ดังนั้นวัตถุประสงค์ของโครงการวิจัยนี้ คือ เพื่อสร้างหุ่นจําลองระบบทางเดินอาหารส่วนบนจากยางพาราเพื่อ
ใช้ในการฝึกส่องกล้องสําหรับแพทย์ฝึกหัด โดยระบบทางเดินอาหารส่วนบนจะทําขึ้นจากยางพารา โดยใช้สูตรยางที่ทดสอบ
แล้วว่ามีความใกล้เคียงกับอวัยวะจริง โดยอ้างอิงจากผลการทดลองการทดสอบแรงดึง (Tensile Test) เปรียบเทียบสูตรยาง
ที่พัฒนาขึ้นมากับกระเพาะหมู นอกจากนั้นหุ่นจําลองยังมีการรวมแผงวงจรและเซ็นเซอร์สําหรับตอบสนองต่อแรงดันที่ผนัง
ทางเดินอาหารโดยกล้องส่องที่แรงเกินสมควร ซึ่งเป็นหนึ่งในข้อผิดพลาดที่เกิดขึ้นได้ง่าย และเกิดขึ้นได้บ่อยที่สุดกับแพทย์
ฝึกหัดส่องกล้องในระยะแรก ซึ่งจะช่วยให้แพทย์ฝึกหัดสามารถฝึกหัดกับหุ่นจําลองที่พัฒนาขึ้นได้ด้วยตนเอง
หลังจากสร้างหุ่นจําลองระบบทางเดินอาหารจากยางพาราสําเร็จตามวัตถุประสงค์และสามารถพัฒนาให้มีต้นทุนไม่
สูงเมื่อเทียบกับระบบจําลองที่มีอยู่ในท้องตลาด จึงได้มีการนําระบบจําลองไปให้กลุ่มแพทย์ผู้เชี่ยวชาญและแพทย์ฝึกหัด ทํา
การทดสอบการใช้งานเพื่อช่วยในการประเมินผล ซึ่งผลตอบรับที่ได้อยู่ในเกณฑ์พอใช้ อย่างไรก็ตาม ผิวสัมผัสยังคงมีความ
แข็งเกินไป และไม่ยืดหยุ่นพอ จึงทําให้การใช้งานยากกว่าคนไข้จริง ส่งผลให้มีเพียงแพทย์ผู้เชี่ยวชาญเท่านั้นที่สามารถส่อง
กล้องเข้าไปจนถึงลําไส้เล็กส่วนต้นได้ โดยแพทย์ฝึกหัดยังไม่สามารถบังคับกล้องให้เข้าถึงได้ ดังนั้นหุ่นจําลองระบบทางเดิน
อาหารจากยางพาราที่พัฒนาขึ้น สามารถใช้ทดสอบความเชี่ยวชาญของแพทย์ได้ แต่ยังต้องมีการปรับปรุงผิวสัมผัสเพิ่มเติม
หากต้องการนํามาใช้สําหรับฝึกแพทย์ฝึกหัดในเบื้องต้น สําหรับแผนการในอนาคต ขณะนี้ได้พัฒนาเพิ่มเติมตามคําแนะนําที่
ได้ โดยจะปรับปรุงวิธีการขึ้นรูปและวิธีการยืดติดกับตัวหุ่นจําลอง ซึ่งคาดว่าจะสามารถพัฒนาให้ระบบทางเดินอาหาร
ส่วนบนมีความใกล้เคียงกับมนุษย์มากขึ้น และสามารถนํามาใช้ในการฝึกแพทย์ฝึกหัดได้อย่างเหมาะสมมากขึ้น
คําสําคัญ: หุ่นจําลองทางเดินอาหารส่วนบน, ฝึกหัดส่องกล้องทางเดินอาหาร, หุ่นจําลองทางการแพท
เรื่องที่5
บทคัดยองานวิจัยไดพัฒนาแนวปฏิบัติที่ดีเชิงนิเวศเศรษฐกิจของโรงงานผลิตน้ําตาลอยางยั่งยืนดวยการ
เทียบเคียงสมรรถนะ การทบทวนขอมูลทุติยภูมิและทวนสอบขอมูลในโรงานผลิตน้ําตาลเปนขั้นตอน
แรกของการศึกษานี้ จากนั้นพัฒนาตัวชี้วัดประสิทธิภาพเชิงนิเวศเศรษฐกิจที่เหมาะสมซึ่งผานการทวน
สอบตัวชี้วัดดวยการประชุมเชิงปฏิบัติการรวมกับผูทรงคุณวุฒิ แลวจึงพัฒนาเปนแบบสอบถามเพื่อใช
ในการเก็บขอมูลตามตัวชี้วัดที่พัฒนามาได กอนนําไปเก็บรวบรวมขอมูลตามตัวชี้วัดทางดาน
เศรษฐศาสตรและสิ่งแวดลอมในโรงงานผลิตน้ําตาล จํานวน 10 โรงงาน ที่มีกําลังการผลิตขนาดกลาง
ขึ้น
ไปและกอตั้งหลังจากป 2526 จากนั้นจึงประเมินคาและแนวโนมของประสิทธิภาพเชิงนิเวศ
เศรษฐกิจของโรงงานผลิตน้ําตาล แลวจึงเทียบเคียงสมรรถนะคาและแนวโนมประสิทธิภาพชิงนิเวศ
เศรษฐกิจของโรงงานผลิตน้ําตาลเพื่อระบุแนวปฏิบัติที่ดีเชิงนิเวศเศรษฐกิจของโรงงานผลิตน้ําตาล
อยางยั่งยืนดวยที่ผานการถายทอดและทวนสอบแนวปฏิบัติที่ดีใหกลายเปนแนวทางตนแบบในการ
พัฒนาโรงงานผลิตน้ําตาลอยางยั่งยืน
ผลการศึกษาดวยการเก็บรวบรวมขอมูลตามตัวชี้วัดประสิทธิภาพเชิงนิเวศเศรษฐกิจของ
โรงงานผลิตน้ําตาล 10 โรงงาน แลวนํามาประเมินคาเพื่อเทียบเคียงสมรรถนะ พบวา (1) โรงงาน B
เปนโรงงานที่มีสะทอนความยั่งยืนสูงสุดดวยคาประสิทธิภาพเชิงนิเวศเศรษฐกิจที่สูงที่สุดในตัวชี้วัด
ปริมาณออยเขาหีบและปริมาณกากน้ําตาล (2) โรงงาน A มีคาประสิทธิภาพเชิงนิเวศเศรษฐกิจสูงที่สูง
ที่สุดจึงสะทอนความยั่งยืนสูงที่สุดสําหรับตัวชี้วัดปริมาณการใชสารเคมีและปริมาณการใชไอน้ํา (3)
โรงงาน C มีคาที่สะทอนความยั่งยืนสูงที่สุดในสวนของตัวชี้วัดปริมาณการใชไฟฟา และ (4) โรงงาน F
มีคาประสิทธิภาพเชิงนิเวศเศรษฐกิจต่ําที่สุดและสะทอนความยั่งยืนสูงสุดในปริมาณกากออยและ
ปริมาณกากตะกอน นอกจากนี้คาของตัวชี้วัดเฉพาะธุรกิจน้ําตาล สะทอนใหเห็นวาเมื่อเทียบเคียง
สมรรถนะแลว พบวา (1) โรงงงาน F มีคาดีที่สุดในตัวชี้วัด yield ชวงหีบ คา C.C.S และ คา Pol
extraction และ (2) โรงงาน C มีคาที่ดีที่สุดในตัวชี้วัด Sugar loss ชวงหีบออย
จากจึงทําการวิเคราะหแนวโนมประสิทธิภาพเชิงนิเวศเศรษฐกิจของโรงงานน้ําตาล
กรณีศึกษาดวยดวยกราฟ Snapshot และเทียบเคียงสมรรถนะ พบวา (1) ปริมาณออยเขาหีบและ
ปริมาณการใชไอน้ํามีโรงงานโรงงาน B ที่แสดงแนวโนมประสิทธิภาพเชิงนิเวศเศรษฐกิจที่สะทอน
ความยั่งยืนสูงสุด (2) ตัวชี้วัดปริมาณการใชไฟฟาและปริมาณกากออยนั้นโรงงาน C แสดงใหเห็นถึง
แนวโนมประสิทธิภาพเชิงนิเวศเศรษฐกิจที่สะทอนความยั่งยืนสูงสุดในสวนของ (3) ปริมาณ
กากน้ําตาลและปริมาณกากตะกอน โรงงาน A สะทอนความยั่งยืนดวยแนวโนมที่ดีของประสิทธิภาพ
เชิงนิเวศสูงที่สุด (4) ทายสุดแนวโนมประสิทธิภาพเชิงนิเวศเศรษฐกิจของตัวชี้วัดปริมาณการใช
สารเคมีสะทอนความยั่งยืนสูงสุดในสวนโรงงาน F
ทายสุดจึงนําผลที่ไดจากการเทียบเคียงสมรรถนะของคาและแนวโนมประสิทธิภาพเชิงนิเวศ
เศรษฐกิจของโรงงานผลิตน้ําตาลตามตัวชี้วัดตาง ๆ มาทําการพัฒนาแนวปฏิบัติที่ดีในการพัฒนา
โรงงานน้ําตาลดวยการสัมภาษณเชิงลึกและทวนสอบขั้นตอนการดําเนินงาน ทั้งผลการศึกษา พบวา
แนวปฏิบัติที่ดีในการพัฒนาโรงงานผลิตน้ําตาลอยางยั่งยืน ประกอบดวย (1) การจัดการกับวัตถุดิบ
ออย อยางครบวงจรและมีสวนรวมจากโรงงานตั้งแตเริ่มปลูกจนถึงปอนเขาสูโรงงาน (2) การเพิ่ม
v
เทคโนโลยีตะแกรงเพื่อลดสิ่งเจือปนกอนเขาหีบ (3) การเสริม Diffuser ในกระบวนการหีบสกัด
น้ํา
ออย (4) การเสริมระบบการผลิตพลังงานไอน้ําที่มีประสิทธิภาพแบบ High Pressure Boiler เพื่อ
ผลิตไอน้ํา (5) การวางแผนการจัดและการใชสารเคมีอยางเหมาะสมและบูรณาการ (6) การปรับปรุง
เปลี่ยนแปลงและตรวจสอบเครื่องจักรที่ใชในโรงงานอยางตอเนื่อง และ (7) การเพิ่มสมรรทนะและ
ทักษะใหกับพนักงานอยางเปนระบบคําสําคัญ : แนวปฏิบัติที่ดี การพัฒนาอยางยงั่ ยืน โรงงานผลติ น้ําตาล ประสิทธิภาพเชิงนเิ วศเศรษฐกจ
เทียบเคียงสมรรถนะ การทบทวนขอมูลทุติยภูมิและทวนสอบขอมูลในโรงานผลิตน้ําตาลเปนขั้นตอน
แรกของการศึกษานี้ จากนั้นพัฒนาตัวชี้วัดประสิทธิภาพเชิงนิเวศเศรษฐกิจที่เหมาะสมซึ่งผานการทวน
สอบตัวชี้วัดดวยการประชุมเชิงปฏิบัติการรวมกับผูทรงคุณวุฒิ แลวจึงพัฒนาเปนแบบสอบถามเพื่อใช
ในการเก็บขอมูลตามตัวชี้วัดที่พัฒนามาได กอนนําไปเก็บรวบรวมขอมูลตามตัวชี้วัดทางดาน
เศรษฐศาสตรและสิ่งแวดลอมในโรงงานผลิตน้ําตาล จํานวน 10 โรงงาน ที่มีกําลังการผลิตขนาดกลาง
ขึ้น
ไปและกอตั้งหลังจากป 2526 จากนั้นจึงประเมินคาและแนวโนมของประสิทธิภาพเชิงนิเวศ
เศรษฐกิจของโรงงานผลิตน้ําตาล แลวจึงเทียบเคียงสมรรถนะคาและแนวโนมประสิทธิภาพชิงนิเวศ
เศรษฐกิจของโรงงานผลิตน้ําตาลเพื่อระบุแนวปฏิบัติที่ดีเชิงนิเวศเศรษฐกิจของโรงงานผลิตน้ําตาล
อยางยั่งยืนดวยที่ผานการถายทอดและทวนสอบแนวปฏิบัติที่ดีใหกลายเปนแนวทางตนแบบในการ
พัฒนาโรงงานผลิตน้ําตาลอยางยั่งยืน
ผลการศึกษาดวยการเก็บรวบรวมขอมูลตามตัวชี้วัดประสิทธิภาพเชิงนิเวศเศรษฐกิจของ
โรงงานผลิตน้ําตาล 10 โรงงาน แลวนํามาประเมินคาเพื่อเทียบเคียงสมรรถนะ พบวา (1) โรงงาน B
เปนโรงงานที่มีสะทอนความยั่งยืนสูงสุดดวยคาประสิทธิภาพเชิงนิเวศเศรษฐกิจที่สูงที่สุดในตัวชี้วัด
ปริมาณออยเขาหีบและปริมาณกากน้ําตาล (2) โรงงาน A มีคาประสิทธิภาพเชิงนิเวศเศรษฐกิจสูงที่สูง
ที่สุดจึงสะทอนความยั่งยืนสูงที่สุดสําหรับตัวชี้วัดปริมาณการใชสารเคมีและปริมาณการใชไอน้ํา (3)
โรงงาน C มีคาที่สะทอนความยั่งยืนสูงที่สุดในสวนของตัวชี้วัดปริมาณการใชไฟฟา และ (4) โรงงาน F
มีคาประสิทธิภาพเชิงนิเวศเศรษฐกิจต่ําที่สุดและสะทอนความยั่งยืนสูงสุดในปริมาณกากออยและ
ปริมาณกากตะกอน นอกจากนี้คาของตัวชี้วัดเฉพาะธุรกิจน้ําตาล สะทอนใหเห็นวาเมื่อเทียบเคียง
สมรรถนะแลว พบวา (1) โรงงงาน F มีคาดีที่สุดในตัวชี้วัด yield ชวงหีบ คา C.C.S และ คา Pol
extraction และ (2) โรงงาน C มีคาที่ดีที่สุดในตัวชี้วัด Sugar loss ชวงหีบออย
จากจึงทําการวิเคราะหแนวโนมประสิทธิภาพเชิงนิเวศเศรษฐกิจของโรงงานน้ําตาล
กรณีศึกษาดวยดวยกราฟ Snapshot และเทียบเคียงสมรรถนะ พบวา (1) ปริมาณออยเขาหีบและ
ปริมาณการใชไอน้ํามีโรงงานโรงงาน B ที่แสดงแนวโนมประสิทธิภาพเชิงนิเวศเศรษฐกิจที่สะทอน
ความยั่งยืนสูงสุด (2) ตัวชี้วัดปริมาณการใชไฟฟาและปริมาณกากออยนั้นโรงงาน C แสดงใหเห็นถึง
แนวโนมประสิทธิภาพเชิงนิเวศเศรษฐกิจที่สะทอนความยั่งยืนสูงสุดในสวนของ (3) ปริมาณ
กากน้ําตาลและปริมาณกากตะกอน โรงงาน A สะทอนความยั่งยืนดวยแนวโนมที่ดีของประสิทธิภาพ
เชิงนิเวศสูงที่สุด (4) ทายสุดแนวโนมประสิทธิภาพเชิงนิเวศเศรษฐกิจของตัวชี้วัดปริมาณการใช
สารเคมีสะทอนความยั่งยืนสูงสุดในสวนโรงงาน F
ทายสุดจึงนําผลที่ไดจากการเทียบเคียงสมรรถนะของคาและแนวโนมประสิทธิภาพเชิงนิเวศ
เศรษฐกิจของโรงงานผลิตน้ําตาลตามตัวชี้วัดตาง ๆ มาทําการพัฒนาแนวปฏิบัติที่ดีในการพัฒนา
โรงงานน้ําตาลดวยการสัมภาษณเชิงลึกและทวนสอบขั้นตอนการดําเนินงาน ทั้งผลการศึกษา พบวา
แนวปฏิบัติที่ดีในการพัฒนาโรงงานผลิตน้ําตาลอยางยั่งยืน ประกอบดวย (1) การจัดการกับวัตถุดิบ
ออย อยางครบวงจรและมีสวนรวมจากโรงงานตั้งแตเริ่มปลูกจนถึงปอนเขาสูโรงงาน (2) การเพิ่ม
v
เทคโนโลยีตะแกรงเพื่อลดสิ่งเจือปนกอนเขาหีบ (3) การเสริม Diffuser ในกระบวนการหีบสกัด
น้ํา
ออย (4) การเสริมระบบการผลิตพลังงานไอน้ําที่มีประสิทธิภาพแบบ High Pressure Boiler เพื่อ
ผลิตไอน้ํา (5) การวางแผนการจัดและการใชสารเคมีอยางเหมาะสมและบูรณาการ (6) การปรับปรุง
เปลี่ยนแปลงและตรวจสอบเครื่องจักรที่ใชในโรงงานอยางตอเนื่อง และ (7) การเพิ่มสมรรทนะและ
ทักษะใหกับพนักงานอยางเปนระบบคําสําคัญ : แนวปฏิบัติที่ดี การพัฒนาอยางยงั่ ยืน โรงงานผลติ น้ําตาล ประสิทธิภาพเชิงนเิ วศเศรษฐกจ
ภาษาอังกฤษ
เรื่องที่1
APPENDIX 1: ACAT Review Guide: An activity theory approach
to reviewing math apps
Heiko Etzold & Ulrich Kortenkamp, University of Potsdam
Silke Ladel, University of Education Schwäbisch Gmünd
Kevin Larkin, Griffith University
Introduction
Mathematics education as a Design Science (Wittmann
1995) has the responsibility to help judge and review material for teaching and
learning mathematics, including digital ones like computer software and apps
for mobile devices. This review guide has been developed to fulfill that
responsibility. The usual approach to evaluating the suitability of apps for
teaching and learning are catalogues and categorisations, resulting in rankings
(cf. Highfield and Goodwin 2013). However, these are not particularly useful to
give hints about the suitability of the app for a certain subject matter or
particular classroom situation. We propose another approach, a theory-guided
approach to evaluating apps, without ranking them or even labeling them as
‘good’ or ‘bad’, but as a guideline to find ways to judge the deployment of
specific apps in the classroom.
The theoretical basis for our review guide is activity
theory, more specifically the ACAT model (Artifact-Centric Activity
Theory, see Ladel and Kortenkamp 2014b). This model describes network of
a subject (usually a student), an object (the
mathematical subject matter), the mediating artifact (in our case,
an app used by the student to work with the mathematical content), as well
as rules (describing how the app should behave based on the
mathematical object) and the group (the whole classroom situation).
เรื่องที่2
It is
an increasingly common phenomenon that elementary school students are using
mobile applications (apps) in their mathematics classrooms. Classroom teachers,
who are using apps, require a tool, or a set of tools, to help them determine
whether or not apps are appropriate and how enhanced educational outcomes can
be achieved via their use. In this article we investigate whether Artifact
Centric Activity Theory (ACAT) can be used to create a useful tool for
evaluating apps, present a review guide based on the theory and test it using a
randomly selected geometry app [Pattern Shapes] built upon different (if any at
all) design principles. In doing so we broaden the scope of ACAT by
investigating a geometry app that has additional requirements in terms of accuracy
of external representations, and depictions of mathematical properties (e.g.
reflections and rotations), than is the case for place value concepts in [Place
Value Chart] which was created using ACAT principles and has been the primary
app evaluated using ACAT. We further expand the use of ACAT via an independent
assessment of a second app [Click the Cube] by a novice, using the ACAT review
guide. Based on our latest research, we argue that ACAT is highly useful for
evaluating any mathematics app and this is a critical contribution if the
evaluation of apps is to move beyond academic circles and start to impact
student learning and teacher pedagogy in mathematics
เรื่องที่3
Abstract
This article presents an analysis of the orthographic errors
found in university students’ asynchronous digital writing. A university and a
society belonging to the twenty-first century require students and
professionals who can use their language correctly in any context, device and
mode of communication. The research was based on a sample of 1237 digital
interactions in discussion forums and emails between students of the National
University of Distance Learning on subjects related to academic work. We applied
a descriptive quantitative methodology by means of a statistical and
lexicometric analysis of the written texts and multiple regression analysis,
related to four independent variables: gender, studies, interlocutor
(professor/student), and digital device (fixed, mobiles) and three orthographic
sub-levels (punctuation, accentuation and spelling). The results show that
there is considerable room for improvement in the orthography of university
students’ asynchronous digital writing. A total of 71.3% of errors were not
conditioned by independent variables but by ignorance of the orthographic rules
or incorrect use of the language.
Acknowledgements
This research forms part of the work carried out by the
Alfamed group (EuroAmerican Interuniversity Network for Research on Media
Competences for Citizens), with the support of the Coordinated I+D+I Project
called “Citizens’ Media Competences in emerging digital media (smartphones and
tablets): innovative practices and educommunication strategies in multiple contexts”
(EDU2015-64015-C3-1-R) (MINECO/FEDER), and of the “Media Education Network” of
the State Program for the Promotion of Excellence in Scientific-Technical
Research, the State Subprogram for Knowledge Generation (EDU2016-81772-REDT),
financed by FEDER (European Regional Development Fund) and Spain’s Ministry of
Economy and Competitiveness.
Compliance with ethical standards
Conflict of interest
The author(s) declared no potential conflicts of interest
with respect to the research, authorship, and/or publication of this article.
เรื่องที่4
Abstract
This paper examines whether using From Here to
There! (FH2T:E), a dynamic game-based mathematics learning technology
relates to improved early algebraic understanding. We use student log files
within FH2T to explore the possible benefits of student behaviors and
gamification on learning gains. Using in app measures of student interactions
(mouse clicks, resets, errors, problem solving steps, and completions), 19
variables were identified to summarize overall problem solving processes. An
exploratory factor analysis identified five clear factors including engagement
in problem solving, progress, strategic flexibility, strategic efficiency, and
speed. Regression analyses reveal that after accounting for behavior within the
app, playing the gamified version of the app contributed to higher learning
gains than playing a nongamified version. Next, completing more problems within
the game related to higher achievement on the post-test. Third, two significant
interactions were found between progress and prior knowledge and engagement in
problem solving and prior knowledge, where low performing students gained more
when they completed more problems and engaged more with those problems.
Keywords
Early
algebra Game-based learning Math achievement
This is a preview of subscription content, log
in to check access.
Notes
Acknowledgments
The research reported here was supported by the Institute of
Education Sciences, U.S. Department of Education, through Grant No. R305A110060
to University of Richmond and Indiana University. The opinions expressed are
those of the authors and do not represent views of the Institute or the U.S.
Department of Education. The authors are also grateful to the many teachers and
students who helped make this research possible.
Publisher's Note
Springer Nature remains neutral with regard to
jurisdictional claims in published maps and institutional affiliations.
เรื่องที่5
This paper reports on a qualitative research project
investigating the integration of technology by three English teachers in a
public secondary school in Indonesia. Third generation activity theory and
Engeström and Sannino’s (J Organ Change Manag 24(3):368–387, 2011) methodological framework for the
identification and analysis of different types of discursive manifestations of
contradictions are used to identify tensions within and between the activity
systems of the teachers and school management related to the expectation that
teachers make use of the school’s investment in technology. Four types of
contradictions are identified: a dilemma related to teachers’ perceived value
and use of technology for personal and professional purposes; a conflict
focused on the support required for teachers’ technology integration; a
conflict related to teachers’ workload and a critical conflict related to the
silencing of teachers in decision making. The identification of these
contradictions highlights the necessity for policy makers, school leaders,
teachers and the research community to work collaboratively to ensure that
students have opportunities to use technology for their social, civic and
economic well-being.
Keywords
Activity
theory Contradictions Teachers English Integration Technology ICT
This is a preview of subscription content, log
in to check access.
วันเสาร์ที่ 30 มีนาคม พ.ศ. 2562
วันศุกร์ที่ 29 มีนาคม พ.ศ. 2562
วันเสาร์ที่ 16 มีนาคม พ.ศ. 2562
Can Business Schools Increase Student Employability by Embedding Action Learning into Undergraduate Management Education? An Account of Practice
Groves, Catherine J.; Orbaek White, Gabrielle D.; Panya, Fuangfa; Stewart, Jim
Action Learning: Research and Practice, v15 n3 p258-266 2018
Management education is at a pivotal crossroads. In an increasingly globalized world, where change is the only constant, business school graduates leaving university are faced with ever intensifying competition and complexity. Universities have responded by increasing their emphasis on teaching 'employability skills' to graduates. However, undergraduate management curricula still often focus on Programmed Knowledge, which does not adequately prepare graduates for the labour market to which they will inevitably graduate. A Future Search exercise was implemented to help conceptualize new visions of the future of management education, considering the question 'to what extent does management education impact on management practice?' This paper asserts that integrating Questioning Insight and a scholarly practice approach into management education will better equip graduates for the world of work. The authors utilize Kotter's 8-stage model of change to outline a pathway for change and action for business schools to adapt a scholarly practice approach to education into their curricula.
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)